ชื่อกล้วยไม้ |
เอื้องปากแฉก
|
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Diploprora truncata Rolfe ex Downie
|
ชื่อท้องถิ่น |
กระต่ายหูลู่, เอื้องปากแฉก
|
ชื่อสกุล |
Diploprora
|
ชื่อพ้อง |
Stauropsis truncata (Rolfe ex Downie) Tang & F.T.Wang
/ Stauropsis truncatis (Rolfe ex Downie) F.T.Wang
|
ประเภท |
กล้วยไม้อิงอาศัย กล้วยไม้ขนาดเล็ก
|
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ | |
ลำต้น : รูปร่าง |
|
ลำต้น : ลักษณะ |
ลำต้นสั้น ลำต้นเจริญทางปลายยอด
|
ใบ : รูปร่าง |
ใบรูปขอบขนาน
|
ใบ : ขนาด |
2x5 cm
|
ใบ : ลักษณะ |
ปลายแหลมหรือเว้าบุ๋ม ใบสีเขียวอมม่วงจนถึงสีม่วงเข้ม ช่วงออกดอกไม่ทิ้งใบ
|
ดอก : ประเภท |
ช่อดอกเป็นช่อกระจะ
|
ดอก : ขนาด |
0.8 cm
|
ดอก : สี |
ดอกสีขาว
|
ดอก : ลักษณะ |
ช่อดอกเกลี้ยง มักมีมากกว่า 1 ช่อ กลีบเลี้ยงรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ กลีบดอกรูปไข่กลับแกมรูปแถบ ทั้งห้ากลีบสีขาว ปลายกลีบมน เมื่อบานเต็มที่กลีบลู่ไปทางด้านหลัง กลีบปากรูปไข่ โคนกลีบเป็นถุงตื้น ๆ ด้านในมีแต้มสีเหลืองและสีแดง ปลายกลีบตัดตรง
|
รายละเอียดทั่วไป | |
ฤดูกาลที่ออกดอก |
เมษายน, พฤษภาคม
|
กลิ่น |
|
การกระจายพันธุ์ |
ไทย[กล้วยไม้ถิ่นเดียว]
|
จังหวัดที่พบในไทย |
เชียงใหม่, เลย, ชัยภูมิ
|
ประเภทป่าที่พบ |
ป่าดิบเขา
|
พื้นที่ที่พบ |
ที่โล่งแจ้งแสงแดดจัดจนถึงแสงแดดรำไร, ขึ้นบนต้นสนสองใบ สนสามใบ และต้นก่อ, ขึ้นบนหิน[บางครั้ง]
|
ระดับความสูงของพื้นที่ |
ที่ความสูง 1300-2200 เมตรจากระดับน้ำทะเล
|
ประชากรในธรรมชาติ |
ประชากรในธรรมชาติ=น้อย / พบเห็นบางพื้นที่ / จำนวนลดลง / พบเห็นได้ยาก
|
การปลูกเลี้ยง |
บ้านเรือน=ไม่พบ / สวนพฤกษศาสตร์=ไม่พบ / กลุ่มผู้นิยมกล้วยไม้พันธุ์แท้
|
แหล่งอ้างอิง |
Ref4v1-pp.229
(ข้อมูลอ้างอิงจากRef4v1)
https://oc.mju.ac.th/Refference.aspx
|
|
Ref5-no.362
|
|
Ref7-pp.190
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
| |